บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ธันวาคม, 2014

CLMV ตลาดการค้าที่สำคัญของไทยในอนาคต

         CLMV ตลาดการค้าที่สำคัญของไทยในอนาคต                CLMV  เป็นตลาดที่  SMES ไทยต้องจับตามอง  และต้องเจาะตลาดนี้เข้าไปให้ได้ ก่อนคนอื่น  ด้วยความสำคัญของ  CLMV  ดังนี้                ขนาดเศรษฐกิจของ กลุ่มประเทศ  CLMV รวมกันมูลค่าประมาณ  1.4  แสนล้านเหรียญสหรัฐฯ  โดยเวียดนามมีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุด  คือ 66% ของ  CLMV  ในขณะที่ ระบบเศรษฐกิจเล็กที่สุด คือ  ลาว   ขนาดเศรษฐกิจ  6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ                ประเภทสินค้าและอุตสาหกรรมที่  SMES  ไทย  มีโอกาสที่จะเปิดตลาดส่งออก  จำแนกตามประเทศ มีดังนี้              เวียดนาม                                                                                                                                               จักรยานยนต์  และ ยานยนต์  เคมีภัณฑ์  ยา   ปิโตรเลียม   ผลิตภัณฑ์เหล็ก   ผลิตภัณฑ์พลาสติก  สิ่งทอขั้นต้น  อิเล็กทรอนิคส์              พม่า                 ผลิตภัณฑ์ยาง   ปูนซิเมนต์   เครื่องใช้ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิคส์  น้ำมันพืช  สิ่งทอขั้นต้น  ผลิตภัณฑ์กระดาษ  ผลิตภัณฑ์โลหะ  ยา   ผลิตภัณฑ์พลาสติก  และ ยานยนต์

หนทางสู่การเป็นศููนย์กลางทางการเงินของไทยในอาเซียน

     ปัจจุบันอาจกล่าวได้ว่า "ถนนทุกสายมุ่งไปสู่ AEC"   หากจะ focus ให้เฉพาะเจาะจง ขอเน้นไปที่ กลุ่มประเทศ CLMV มีความน่าสนใจยิ่ง      CLMV ต้องการเงินทุนมหาศาล  ในการพัฒนาประเทศ เพื่อรองรับ  AEC เบื้องต้นที่สุด ก็คือ Infra structure      โจทย์ คือ : จะทำอย่างไรให้ไทยมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางทางการเงินของ อาเซียน ถ้าจะหวังสูงไปหน่อย  ก็เริ่มจากประเทศ  CLMV  ก่อนก็แล้วกัน      ล่าสุดได้มีบริษัทที่ปรึกษาการเงินของไทย โดยความร่วมมือกับกลุ่มสถาบันการเงินไทย ได้บุกเบิกเข้าไปเจาะตลาด ในประเทศแรก คือ ลาว  เพื่อนำลาวมาสู่ source of fund  ในประเทศไทย      ได้มีการนำบริษัทเอกชนลาว และ รัฐบาลลาวมาระดมทุน  โดยออก  Thai Baht Bond   ดังนี้     ในปี 2556  บริษัทผลิตไฟฟ้า EDL-GENERATION PUBLIC COMPANY,บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ลาว, ได้มาออกหุ้นกู้สกุลบาท จำนวน ุ6-8 พันล้านบาท เพื่อเสนอขายให้นักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง (ผู้ลงทุนส่วนใหญ่เป็นสถาบันของไทย)  โดยมีเงื่อนไข  คือ  หุ้นกู้ อายุ  10 ปี อัตราดอกเบี้ย 5.5% ต่อปี ระหว่างปี 2556 - 2557 รัฐบาลลาว โดยกระทรวงการเงิน ได้ม

D/E RATIO สำคัญอย่างไร

อัตราส่วน หนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น หรือ D/E Ratio  สำคัญอย่างไร เมื่อ  SMEs ขอสินเชื่อกับธนาคาร  D/E Ratio เป็นอัตราส่วนพื้นฐาน ที่ทางธนาคารจะดูเป็นสิ่งแรกๆเลย  อัตราส่วนนี้จะบอกว่ากิจการมีความเสี่ยงทางการเงิน มากน้อยเพียงใด   และหากนำอัตราส่วนมาเปรียบเทียบกันหลายๆปี ก็จะเห็นถึงแนวโน้มความเสี่ยงทางการเงินของกิจการ ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด โดยทั่วไปธนาคารจะดู D/E Ratio เท่ากับ  1 เท่า  หรือ บางบริษัท  2  เท่า  ก็มองว่าเป็นกรณีทั่วไปของ  SMEs กรณี SMEs ที่ขอสินเชื่อกับธนาคาร  ทั้งกิจการที่ดำเนินธุรกิจอยู่แล้ว  หรือ  ลักษณะ Project Finance  ธนาคารก็ใช้อัตราส่วนนี้ในการวิเคราะห์เพื่อพิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการอนุมัติสินเชื่อด้วย โดยจะมีการตั้งสมมุติิฐาน โครงสร้างของเงินทุน   : mil  THB Use  of  fund ค่าที่ดิน                            30 ค่าก่อสร้างอาคาร                70 Total Use  of  fund         100 Source of  fund กิจการออกเอง                    50 เงินกู้                                50 Total Source of  fund     100 กรณีนี้  D/E Ratio หลังปล่อยสิ

ความเสี่ยงทางการเงินของ SMEs

CHAPTER 1 ความเสี่ยงทางการเงินของ SMEs :     ตัวอย่าง  บริษัท  A   และ  บริษัท B                                                              Y2011      Y2012        Y2013    :  mil  THB ยอดขายบริษัท  A                        237           350             279    ยอดขาย  บริษัท B                          35             44               49       บริษัท A  มีความผันผวนของยอดขาย (high  fluctuate)   สูงกว่า บริษัท B    บริษัท A จึงมีความเสี่ยงทางการเงิน   (degree of  financial leverage) สูงกว่า บริษัท B ดังนั้น  ทางหนึ่งในการลดความเสี่ยงทางการเงิน  คือ  หาวิธีลดความผันผวนของกระแสรายได้กิจการ คือ  ให้เป็นไปในลักษณะ  Trend  ของบริษัทกำลังเติบโต  หรือ  Trend  อยู่ในช่วงชะลอตัวของธุรกิจ แนวโน้มของยอดขาย  ส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลจากสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจ,ธุรกิจ   อีกส่วนหนึ่งย่อมขึ้นกับแผนธุรกิจ หรือ แผนเชิงกลยุทธ์ ของกิจการ แนวทางการลดความเสี่ยงจากการผันผวนของรายได้   เช่น บริษัทผลิตไฟฟ้าเอกชนทำสัญญาระยะยาวขายไฟฟ้าที่ผลิตได้  ให้กับการไฟฟ้าฯ วิธีนี้ย่อมเป็นการสร้างความมั่นคงขอ