บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2015

Mismatching fund ปัญหาที่ SMEs ควรหลีกเลี่ยง

Mismatching   fund ปัญหาที่ SMEs ควรหลีกเลี่ยง ******************************************************************************************************** Source of fund & use of fund   ที่ไม่สอดคล้องกัน ก่อให้เกิดความเสี่ยงทางการเงิน และหากสะสมเป็นปัญหาใหญ่ อาจนำไปสู่ความล้มเหลวทางการเงินได้                           2 กรณี ตัวอย่าง         กรณีที่ 1 นำเงินกู้ O/D ไปซื้อเครื่องจักร / ซื้อที่ดิน             เป็นการนำแหล่งที่มาจากเงินทุนระยะสั้นไปลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาว             “Short-term source invest in Long-term Assets” มีความเสี่ยงที่จะขาดสภาพคล่อง เนื่องจาก O/D ต้องชำระในระยะสั้น วัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในกิจการ ควรนำไปซื้อวัตถุดิบที่จะผลิตสินค้าแล้วขายเป็นเครดิตเทอม 60 วัน ก็จะหมุนกลับมาเป็นเงินสด นำมาชำระลดยอดหนี้ O/D ได้ ภายในรอบการผลิต ไม่ต้องมียอดเงินกู้ค้างนาน เป็นการลดภาระต้นทุนทางการเงิน   ในขณะที่การลงทุนในเครื่องจักร / ที่ดิน   เหมาะที่จะใช้แหล่งที่มาจากเงินกู้ประจำมากกว่า ซึ่งจะมีเงื่อนไขต้องผ่อนชำระทุกเดือนเป็นเวลา 60 งวด = 5 ปี เป็

แฟ็กเตอริง หรือ แฟคตอริ่ง : FACTORING สินเชื่อแฟ็กเตอริงเพื่อผู้ประกอบการ SMEs

Factoring : แฟคตอริ่ง : แฟคเตอริ่ง : แฟ็กเตอริง           ผู้ประกอบการ SMEs สามารถใช้ประโยชน์จากลูกหนี้การค้า ซึ่งเงินทุนไปจมอยู่   2 เดือน หรือ 3   เดือน   ก็แล้วแต่กรณี   แปลงให้เป็นเงินสดได้ทันที     โดยนำอินวอยซ์   ที่ส่งของ และ วางบิลเรียบร้อยแล้ว   มาโอนสิทธิเรียกร้องให้ สถาบันการเงินผู้ให้บริการแฟ็กเตอริง   ทางสถาบันฯ หลังจากตรวจสอบ   transaction การซื้อ - ขาย ว่ามีการส่งของเรียบร้อยแล้ว ปริมาณและคุณภาพงานครบถ้วน   ตาม  P/O    เจ้าหน้าที่ของสถาบันฯ สามารถ verify จากลูกหนี้การค้าได้ว่าจะจ่ายเงินค่าสินค้า หรือ บริการ ในวันครบกำหนด   Credit Term   รวมทั้งสามารถแจ้งโอนสิทธิเรียกร้อง   ไปยังลูกหนี้การค้าได้ ก็จะจ่ายเงินสินเชื่อ เรียกว่า   เงิน Advance ให้ ทันที   ในอัตรา   80%   ของมูลค่าอินวอยซ์           หลังจากได้รับเงินกู้มาแล้ว ผู้ประกอบการ จะนำไปจ่ายค่าแรง , ค่าน้ำ , ค่าไฟฟ้า   ก็แล้วแต่จะจัดสรร   ส่วนผู้ปล่อยสินเชื่อก็จะรอจนครบกำหนด Credit Term   เช่น   60   วัน    ออกอินวอยซ์   วันที่ 1   เมษายน   ก็ส่งเจ้าหน้าที่ collector ไปเก็บเงินแทนลูกค้า ในวันท

ACCOUNT RECEIVABLE

การวางแผนการเงินสำหรับ  SME โดยการบริหารจัดการลูกหนี้การค้า ประโยชน์ของการบริหารลูกหนี้การค้า 1) เพื่อไม่ให้เกิดหนี้สูญ 2) เพื่อให้ cashflow เข้ามาเร็ว สอดคล้องกับความต้องการใช้เงิน 3) เพื่อให้กิจการไม่ขาดสภาพคล่อง เมื่อต้องใชเงินสดจ่าย  เช่น จ่ายคืนเจ้าหนี้ระยะสั้น, จ่ายเงินเดือนพนักงาน 4) เพื่อให้การใช้เงินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการวางแผนล่วงหน้า ขั้นแรก : จัดสรร Portfolio ลูกหนี้การค้าก่อน  ให้มีความเหมาะสม TABLE 1 :         ชื่อลูกหนี้            เครดิตเทอม(วัน)          จำนวนเงิน(ลบ.)        % บริษัท A                            30                             5.5 บริษัท B                            45                             3.0 บริษัท C                            90                             1.2 วิเคราะห์ : จำนวน/สัดส่วน  จัดลำดับความสำคัญ  สัดส่วน % ลูกหนี้รายใดมาก ไปหา น้อย ดูโครงสร้าง portlio และนัยเชิงนโยบาย เช่น  ลูกหนี้กระจุกต้วอยูที่ บริษัท A มากเกินไป  หรือ  ควรลดสัดส่วนของบริษัท C เพราะ เครดิตเทอมยาว เพื่อลดความเสี่ยงลง ขั้นที่ 2 : วิเค