บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2018

หลักการวิเคราะห์งบการเงิน สำหรับ SMEs

ห ลักการวิเคราะห์งบการเงิน สำหรับ SMEs  ใน ยุคที่หลายคนบอกว่าเป็นยุค  Thailand 4.0  ,   digital economy  ,   disruptive ,   fintech   หลักการวิเคราะห์งบการเงินของแต่ละอุตสาหกรรม เทคนิค คือ ให้ไปหาบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันกับบริษัทที่เราต้องการวิเคราะห์ ซึ่งบริษัทในตลาดหลักทรัพย์นั้น อัตราส่วนทางการเงินใช้เป็นฐาน หรือ benchmark ในการคำนวณได้ เนื่องจากบริษัทในตลาดฯ มีระบบบัญชีที่ผ่านการตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีระดับประเทศ และถูกกำกับดูแลโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ก.ล.ต. รวมทั้งมีระบบการควบคุมภายในที่เชื่อถือได้ และมีบรรษัทภิบาลที่ชัดเจน ตรวจสอบได้ ถ้าเทียบกับบริษัทนอกตลาดฯ โดยเฉพาะ SMEs เช่น  เรื่องการหลีกเลี่ยงภาษี โดยการตกแต่งรายการทางบัญชี ซึ่งเป็นที่นิยมทำกันอย่างแพร่หลายในธุรกิจ  SMEs                 ยกตัวอย่างธุรกิจ garment/apparel ที่มีแบรนด์ของตัวเองเปรียบเทียบ 3 บริษัท บริษัท A ใหญ่สุด ยอดขาย 8 พันล้านบาท   อัตรากำไรขั้นต้น 45 %   อัตรากำไรสุทธิ   3 % บริษัท B ใหญ่เป็นอันดับ 2 เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์   ยอดขายต่อปี 4

ความคืบหน้า กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ 1 ปี ที่ผ่านไป

ความคืบหน้า กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ 1 ปี ที่ผ่านไป                   ข่าวดีเพิ่มเติม สำหรับผู้รับหลักประกันกลุ่มใหม่    ตามกฎกระทรวงการคลัง พ.ศ. 2559    เรื่อง กำหนดให้บุคคลอื่นเป็นผู้รับหลักประกัน   ได้มีการประกาศเพิ่มอีก   6   กลุ่ม ดังนี้ 1 ) นิติบุคคล – แปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ 2 ) ทรัสตีในนามทรัสต์ตามกฎหมายว่าด้วยทรัสต์เพื่อธุรกรรมในตลาดทุน 3 ) บริษัทหลักทรัพย์   กองทุนรวม หรือ ผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 4 ) นิติบุคคล – ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ตามกฎหมายว่าด้วย สัญญาซื้อขายล่วงหน้า 5 ) บริษัทบริหารสินทรัพย์ตาม               กฎหมายว่าด้วย    บริษัทบริหารสินทรัพย์ 6 ) นิติบุคคล – ธุรกิจแฟ็กเตอริง                 นับเป็นเรื่องน่ายินดีที่ทางราชการได้เปิดโอกาสให้สถาบันอื่นๆ ได้เข้ามามีส่วนร่วมกับ พ.ร.บ. หลักประกันทางธุรกิจ   ไม่ได้ผูกขาดอยู่แต่ในสถาบันใหญ่ ๆ เช่น ธนาคาร                 สำหรับสถานการณ์หลังจากบังคับใช้กฎหมายหลักประกันครบ 1 ปี (ก.ค. 59 – ก.ค. 60)   ภาพรวมเป็นไปด้วยความคึกคัก โดยเฉพาะสถาบันห

ทางออกสำหรับพนักงานแบงก์ในยุค Disruptive economy

ทางออกสำหรับพนักงานแบงก์ ในยุค     Disruptive economy : พนักงานแบงก์ โปรดทราบ ทั้ง   ไทยพาณิชย์ และ แบงก์อื่นๆ ที่กำลังจะทะยอยตามมา......  ******************************************************* จากข่าวใหญ่ ที่บิ๊กธนาคารของไทย SCB มีแผนจะลดจำนวนพนักงานกว่า   12 ,000 คน ภายในระยะเวลา 3 ปี บางสาขาก็ถูกยุบไปรวมกับสาขาอื่น   อย่างแถวย่านอโศก สุขุมวิท   ถิ่นของผม   ก็มียุบไป 2 สาขา สำหรับพนักงานแบงก์ที่มีแนวโน้มจะต้องตกงานในอนาคตอันใกล้ แล้วจะไปทำงาน ทำมาหากินอาชีพ อะไรกันล่ะ ผมมีแนวทาง ก็คือใช้ความชำนาญส่วนตัวของเรานี่แหละ ไม่ต้องไปหาไกลตัว นำไปเป็นที่ปรึกษาให้ลูกค้าธุรกิจ บริษัท ห้าง ร้าน โดยเพื่อนๆ พนักงานแบงก์ทั้งหลาย   สามารถศึกษาได้จาก blog ของ   misteruniversal   www.misteruniversal.blogspot.com www.misteruniversal.blogspot.com รวมทั้ง ความรู้ด้านการวาง แผนการเงิน    การบริหารเงินสำหรับธุรกิจ SME ที่จะสามารถนำไปใช้   โดยเข้าไปเสนอบริการเป็นที่ปรึกษาการเงิน ให้กับธุรกิจ   ซึ่งเป็นการต่อยอดจากความสามารถและประสบการณ์ในการทำงานที่แบงก์ได้   ลูกค้า

ปัญหาของธุรกิจ SMES

ปัญหาของธุรกิจ SMES กิจการบางแห่ง รับงานมากเกินไป เช่น ผู้รับเหมาก่อสร้างบางราย รับงาน 30 – 40 projects    ดูแลไม่ทั่วถึง เงินไปจมในโครงการต่างๆ    งานมีปัญหาคุณภาพ   ส่งมอบงานไม่ได้   cashflow ไม่เข้าบริษัท   เจอปัญหาขาดสภาพคล่อง   ไม่สามารถจ่ายหนี้ธนาคารได้   ธนาคารก็ไม่ปล่อยวงเงินให้นำมาหมุนเวียน ต่อ    ค้างเจ้าหนี้การค้าวัสดุก่อสร้าง   เขาก็ไม่ปล่อยเครดิตให้นำวัสดุไปใช้ในโครงการใหม่     ปัญหาจึงวนเวียนเป็นงูกินหาง แก้ไม่จบ หากท่านมีปัญหา   เรามีทางออก ผู้ประกอบการเข้ามาหาข้อมูล แนวทางแก้ไขปัญหาได้ที่ blog   www.misteruniversal.blogspot.com หรือเขียนมาสอบถามก็ได้ครับ                                        Misteruniversal